มัลลิกา ศรีวิชัย
วันจันทร์ที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2557
กลอนวันพ่อ
รักของพ่อที่ให้ลูกพันผูกจิต
เกินจะคิดคำเพราะที่เหมาะสม
พระคุณพ่อทั้งโลกากล่าวชื่นชม
น้อมประนมบูชาค่าสักการ
สองมือลูกกราบลงตรงเท้าพ่อ
ลูกจะขอตั้งจิตอธิษฐาน
ทวยเทพไทไตรรัตน์ช่วยบันดาล
ให้สำราญกายใจไร้โรคา ฯ
ประวัติรัฐธรรมนูญไทย
ประวัติรัฐธรรมนูญไทย
ฉบับที่ 1 : พระราชบัญญั ัติรัฐธรรมนูญการปกครองแผนดินสยามชั่วคราวพุทธศักราช 2475
เกิดจากคณะราษฎรซึ่งทําการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 24 มิถุนายน 2475 ไดจัดรางฯขึ้น มีจํานวน 39 มาตรา โดยหลวงประดิษฐ์ มนูธรรม (นายปรีดีพนมยงค) ไดทูลเกลาฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว(รัชกาลที่ 7) ใหทรงลงพระปรมาภิไธย ประกาศใชเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ.2475ตอมาได "ยกเลิก" รัฐธรรญนญฉบับนี้เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2475 เนื่องจากไดประกาศใชรัฐธรรมนญฉบับถาวร รวมระยะเวลาทใชี่ รัฐธรรมนูญฉบับที่ 1 ทั้งสิ้น 5 เดือน 13 วัน
ฉบับที่ 2 : รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรสยาม (ไทย) พุทธศักราช 2475
เกิดจากสภาผแทนราษฎร์ตั้งคณะกรรมการยกรางฯขึ้น เพื่อใชเปนรัฐธรรรมนูญฉบับถาวร มีจํานวน 68 มาตรา ประกาศใชเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2475 ซึ่งตอมาถือเปน " วันรัฐธรรมนูญ "
ฉบับนี้ถือเปนฉบับถาวรที่มีระยะเวลาบังคับใชนานที่สุด โดยไดยกเลิกไปเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2489 รวมระยะเวลาประกาศใชทั้งสิ้น 13 ป 4 เดือน 29 วัน
ฉบับที่ 3 : รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489
มีที่มาจาก ส.ส.ประเภทที่ 2 ที่รวมกันเสนอรางรัฐธรรมนูญตอสภาผูแทนราษฎร และสภาพิจารณา แล้วอนุมัตมี จํานวนมาตรา 68 มาตรา โดยประกาศใชเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2489 กอนจะสิ้นสุด เนื่องจากมีการรัฐประหาร ภายใตการนาของ ํ พล.ท.ผิน ชุณหะวัณ ทําการยึดอำนาจ และประกาศยกเลิกเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2490 รวมระยะเวลาประกาศใช 1 ป 5 เดือน 30 วัน
ฉบับที่ 4 : รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2490
หลังจากที่ พล.ท.ผิน ชุณหะวัณ ทําการรัฐประหาร ไดรางรัฐธรรมนูญชั่วคราวขึ้นมาใชมีจํานวน 98 มาตรา ประกาศใชเมื่อ 9 พฤศจิกายน 2490 และยกเลิกเมื่อ 23 มีนาคม 2492 เนื่องจากไดมีการประกาศใชรัฐธรรมนูญฉบับถาวร รวมระยะเวลาทใชรัฐธรรมนูญฉบับท 4 นี้ 1 ป 4 เดือน 14 วัน
ฉบับที่ 5 : รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2492
มีที่มาจากสภารางรัฐธรรมนูญยกรางฯและพิจารณาแลวเสนอใหรัฐสภาใหความเห็นชอบ ภายหลังจากการประกาศใชรัฐธรรมนูญฉบบชั ั่วคราวกอนหนานี้ โดยรัฐธรรมนูญฉบับที่ 5 มีจํานวน 188 มาตรา ประกาศใชเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2492 แตแลว 2 ป 8 เดือน 6 วัน ตอมา ก็ตองสิ้นสุดลงไป เมื่อ พล.อ.ผิน ชุณหะวัณ ทําการยึดอํานาจการปกครองจากรัฐบาลอีกครั้ง และประกาศ ยกเลิกรัฐธรรมนูญ ในวันที่ 29 พฤศจิกายน 2494
ฉบับที่ 6 : รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2475 แกไขเพิ่มเติมพุทธศักราช2495
ประกาศและบังคับใช้เมื่อ 8 มีนาคม 2495 และถูกฉีกทิ้ง เมื่อ 20 ตุลาคม 2501 โดยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุดการทหารบกเป้นหัวหน้า รวมอายุประกาศและบังคับใช้ 6 ปี 7 เดือน 12 วัน
ฉบับที่ 7 : ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจกร ั พุทธศักราช 2502
รัฐธรรมนูญฉบับนี้มีเพียง 20 มาตรา คณะรัฐประหารไดนํามาใชเปนแนวทางในการปกครองประเทศชั่วคราว โดยประกาศใชเมื่อ 28 มกราคม 2502 และยกเลิกเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2511 รวมเวลา 9 ป 4 เดือน 23 วัน
ฉบับที่ 8 : รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2511
มีจํานวน 183 มาตรา โดยประกาศใชเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2511 และตองยกเลิกเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2514 ดวยเหตุแห่งการรัฐประหาร ที่นําโดย จอมพล ถนอม กิตติขจร ยึดอํานาจตัวเอง
โดยอางวา"มีบุคคลบางจําพวกอาศัยสิทธิตามรัฐธรรมนูญยุยงบอนทําลายใชอิทธพลทั้งภายในและภายนอกสภานิติบัญญัติกอกวนการบริหารราชการของรัฐบาล" รวมเวลาในการใชรัฐธรรมนูญฉบับนี้ 3 ป 4 เดือน 28 วัน
ฉบับที่ 9 : ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2515
คณะรัฐประหารไดประกาศใชรัฐธรรมนญฉบับนี้เปนแนวทางในการบริหารประเทศไปพลางกอน ประกาศใช เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2515 และสิ้นสุดเมื่อ 7 ตุลาคม 2517 รวมเวลา 1 ป 9 เดือน 22 วัน
มีจํานวน 23 มาตรา
ฉบับที่ 10 : รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517
ประกาศใชเมื่อ 7 ตุลาคม 2517 มีจํานวนมาตรา 238 มาตรา และถูกฉีกทิ้ง เมื่อ 6 ตุลาคม 2519 โดยคระปฎิรูปการปกครองแผ่นดิน โดย พล.ร.อ. สงัด ชลออยู่ เป็นหัวหน้า รวมอายุใช้ 2 ปี
ฉบับที่ 11 : รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2519
ภายหลังการยึดอำนาจ หัวหนาคณะปฏิรูปการปกครองแผนดิน ไดมีคําสั่ง 6/2519 ลงวันที่ 11 ตุลาคม 2519 แตงตั้ง "คณะเจาหนาที่ทํางานกฎหมาย" ขึ้นมา เพื่อทําหนาที่รางรัฐธรรมนูญ และตอมาไดประกาศใช รัฐธรรมนูญฉบับทั ี่ 11 มีจํานวน 29 มาตรา ในวันที่ 22 ตุลาคม 2519
ฉบับที่ 12 : ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2520
มีจํานวน 32 มาตรา ประกาศใชเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2520 และยกเลิก 22 ธันวาคม 2521 เมื่อ ประกาศใชรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจ ักรไทย พุทธศักราช 2521 (ฉบับถาวร)รวมเวลา 1 ป 1 เดือน 13 วัน มีรัฐบาลของ พล.อ.เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน (สมัยที่ 1) บริหารประเทศ
ฉบับที่ 13 : รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521
พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงลงพระปรมาภิไธยในรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันสภานิติบัญญัติแหงชาติไดตั้งคณะกรรมาธิการขึ้นยกรางรัฐธรรมนูญฉบับนจนแลวเสร็จ จากนั้นสภานิติบัญญัติแหงชาติพิจารณาและใหความเห็นชอบ และเมื่อไดมีมติเห็นชอบแลว ไดนําขึ้นทูลเกลาฯ ถวายเพื่อพระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธย ใหประกาศใชเมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2521 มีจํานวน 206 มาตรา รวมเวลา 12 ป 2 เดือน 1 วัน
ฉบับที่ 14 : ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจกร ั พุทธศักราช 2534
ประกาศใชเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2534 มีจํานวน 33 มาตรา แลวยกเลิกไปวันที่ 9 ธันวาคม 2534 หลังจากประกาศใชฉบบถาวร รวมเวลาที่ใชรัฐธรรมนญฉบับที่ 13 คือ 8 เดือน 8 วัน
ฉบับที่ 15 : รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534
สภานิติบัญญัติแหงชาติไดตั้งคณะกรรมาธิการขึ้นยกรางฯ สภานิติบัญญัติแหงชาติพิจารณา และใหความเห็นชอบ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงลงพระปรมาภิไธย ประกาศใชเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2534 มีจํานวน 223 มาตรา มีการแก้ไขเพิ่มเติม 4 ครั้ง 6 ฉบับ รวมบังคับใช้ 5 ปี 10 เดือน 3 วัน
ฉบับที่ 16 : รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540
สาระสาคํัญของรัฐธรรมนูญฉบับนี้คือ สงเสรมและคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน คํานึงถึง ความคิดเห็นของประชาชนเปนสําคัญ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 11 ตุลาคม 2540 ประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญคือ นายอุทัย พิมพ์ใจชน
ฉบับที่ 17 : รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2549
คณะปฏิรูปการปกครองระบอบประชาธปไตย ิ อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข (คปค.) นําโดย พล.อ.สนธิ บุญยรัตกลิน นํามาใชเปนหลักในการปกครองประเทศชั่วคราว ประกาศใชเมื่อวันที่
1 ตุลาคม 2549 โดยมีจํานวน 39 มาตรา โดยได้ยกเล ิกไปเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2550 ทันทีที่รัฐธรรมมนูญฉบับที่ 18 มีผลบังคับใช
ฉบับที่ 18 : รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
เปนรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบัน ประกาศใชเมื่อวันที่24 สิงหาคม 2550 มีจํานวนมาตรา 309 มาตรา ปกครองในระบอบประชาธิปไตรมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เป็นกฎหมายไทยฉบับแรกที่ร่างแล้วได้รับความเห็นชอบจากฝ่ายนิติบัญญัติ และได้เผยแพร่ให้แก่ประชาชนทราบ
หน้าแรก
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)